Geometry Pea

Geometry Pea

การวิจัยและนวัตกรรม 

Product : Geometry Pea
Inventors : Ass Prof Khanin Phriwanrat, Benjaporn Setthapong

Prize: Gold Medal (2-4 December 2020 at Hong Kong Convention and Exhibition Center, Hong Kong, China)

 

This is the one of processed method for a peanut shell waste. There is a huge amount of peanut shell waste that has not been used. To add more value to the waste by transforming to a home decoration such as candlestick, therefore peanut shall waste is used as natural material instead of synthetic material and to reduce agricultural waste in the community. Furthermore, candlestick from the peanut shell has strong structure and unique texture for the tolerance.

     

Re Rag-Relax

Re Rag-Relax

การวิจัยและนวัตกรรม 

Product : Re Rag-Relax
Inventors : Dr. Nichanant Sermsri, Miss Satitar Sangsiritragul
Prize :
Gold Medal (2-4 December 2020 at Hong Kong Convention and Exhibition Center, Hong Kong, China)

This product made from nano-capsules to add fragrance to the fabric. Coat the fabric with water-repellent properties for easy maintenance. A unique design that can be added new scent when the fragrance fades. It can be changed the flowers pattern.

   

Kala Clay : Clay-Carbon Composite for Water Treatment

Kala Clay : Clay-Carbon Composite for Water Treatment

การวิจัยและนวัตกรรม 

Product : Kala Clay : Clay-Carbon Composite for Water Treatment
Inventors : Jitlada Chumee, Ploysai Ohama, Saowanee Kumpun
Prize : Gold Medal (2-4 December 2020 at Hong Kong Convention and Exhibition Center, Hong Kong, China)

The novel clay-activated carbon composite material for wastewater treatment was developed. This composite material can be produced at low and exhibited more than 90% adsorption uptake capacity after three regeneration cycles.

   

Re-No-Waste

Re-No-Waste

การวิจัยและนวัตกรรม

Product : Re-No-Waste
Inventors : Asst. Prof. Noppadon Sangwalpetch, Mr. Mongkol Ingkutanon
Prize :
Gold Medal (2-4 December 2020 at Hong Kong Convention and Exhibition Center, Hong Kong, China)

 

Algae in shrimp farms is classified in chlorophytes which the species ha more fibers. Since a number of algae have increased, it has affected shrimp farms and polluted water in those fields. The researchers have then developed the process to change algae to designed paper. The paper can be naturally decomposed and used as an alternative material in designing many products.

   

Carbon Rubber Foam for Removal of Oil Spill

Carbon Rubber Foam for Removal of Oil Spill

การวิจัยและนวัตกรรม

ผลงานเรื่อง : Carbon Rubber Foam for Removal of Oil Spill
โดย : Ploysai Ohama, Dr. Jitlada Chumee, Saowanee Kumpun, Nantawat Kayankasikam
รางวัล: Gold Medal เวทีประกวด ฮ่องกง (2020 IIDC) และรางวัลรองชนะเลิศการประกวดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร   ต่อสิ่งแวดล้อม (Thailand Green Design Awards 2021)

ผลงานคาร์บอนโฟมยางพาราใช้วัตถุดิบภายในประเทศซึ่งเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ  โดยเฉพาะถ่านกัมมันต์นั้นผลิตได้จากของเหลือทิ้งเป็นการนำขยะการเกษตรกลับมาเพิ่มมูลค่า มีกระบวนการผลิตและการย่อยสลายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ตกค้างเป็นเวลานาน หรือปลดปล่อยสารเคมีที่ก่อให้เกิดมลพิษทั้งในขั้นตอนการผลิต การใช้งาน และการย่อยสลาย   คาร์บอนโฟมยางสามารถกำจัดน้ำมันได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ ทำให้การแก้ไขปัญหาน้ำมันรั่วไหลเป็นเรื่องที่ง่าย และรวดเร็ว สามารถดูดซับน้ำมันได้ดีกว่าวัสดุประเภทเดียวกันถึง 2 เท่า ใช้สารเคมีน้อยกว่าและสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างน้อย 10 รอบ โดยไม่เสื่อมสภาพ

   

เปลี่ยนขวด (PET1)ให้เป็นชุด PPE

เปลี่ยนขวด (PET1)ให้เป็นชุด PPE

การเรียนการสอน

เปลี่ยนขวด (PET1)ให้เป็นชุด PPE

วันที่ 15 ตุลาคม 2563  มหาวิทยาลัยจัดแสดงนิทรรศการพลาสติก By PR Caring” เปลี่ยนขวด (PET1)ให้เป็นชุด PPE  สู้วิกฤต COVID -19 ณ ศูนย์สุขภาพและกีฬา ชั้น 1 โดยมีวิทยากรให้ความรู้ บรรยายในหัวข้อ “พลาสติก PET 1″  ร่วมกับภาคเอกชน

   

พื้นที่สะอาดในและนอกรั้วมหาวิทยาลัย

พื้นที่สะอาดในและนอกรั้วมหาวิทยาลัย

นโยบายและการบริหารจัดการ

พื้นที่สะอาดในและนอกรั้วมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมีนโยบายให้หน่วยงานต่างๆ ส่งเสริมโครงการจิตอาสาทำความสะอาดพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยและบริเวณรอบนอกกำแพงมหาวิทยาลัย ประจำปี 2563

   

 

“ก้านกล้วยกันกระแทก”: นวัตกรรมใหม่ในการกันกระแทก

“ก้านกล้วยกันกระแทก”: นวัตกรรมใหม่ในการกันกระแทก

งานวิจัยนวัตกรรม

         ก้านกล้วยกันกระแทก”: นวัตกรรมใหม่ในการกันกระแทก

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา  ที่ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง “bronze” จากผลงานวิจัยนวัตกรรมใหม่ วัสดุกันกระแทกทางชีวภาพ (Bio-cushioning Material from Banana Trunk”  “ก้านกล้วยกันกระแทก” จากเวทีนานาชาติในงาน 23rd Moscow International Salon of Inventions and Innovative Technologies “ARCHIMEDES” ณ สหพันธรัฐรัสเซีย  ด้วยการนำเสนอผลงาน เน้นการลดการใช้พลาสติกในงานโลจิสติกส์ด้านการขนส่งสินค้าที่มีขนาดเล็ก  เพราะในปัจจุบันมีการจัดส่งสินค้าขนาดเล็กจากการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ในประเทศไทยจำนวนมาก นับเป็นหลายพันล้านชิ้นต่อปี   ซึ่งมีส่วนประกอบสำคัญในการจัดส่งประกอบไปด้วยกล่องพัสดุ  กันกระแทก เชือกหรือเทป เพื่อการลดขยะจากการขนส่งสินค้า จึงทำการศึกษาก้านกล้วย พืชที่มีลักษณะทางกายภาพเหมาะสมที่จะทำหน้าที่กันกระแทกสินค้า คือ มีน้ำหนักเบา ราคาถูก หาง่ายในประเทศ

   

 

 

ประชาชนยิ้มรับพลังงานสะอาด

ประชาชนยิ้มรับพลังงานสะอาด

นวัตกรรมและการวิจัย

ประชาชนยิ้มรับพลังงานสะอาด

#สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า แสดงศักยภาพให้ประจักษ์ด้วยโครงงานนักศึกษา เน้นการประยุกต์ IoT กับพลังงานทดแทน งานบ้าน สวน โรงงาน เช่น เรือเก็บขยะพลังงานแสงอาทิตย์ ปั๊มน้ำพลังงานไฟฟ้าบ้านและแสงอาทิตย์ เครื่องเตือนภัยน้ำท่วมระยะไกล เครื่องชง-ขายน้ำหวาน ระบบสาธิตการควบคุมอัตโนมัติด้วย PLC และการประยุกต์การขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าเพื่อขนถ่ายอาหารสัตว์ที่ร่วมมือกับฟาร์มไก่อินทรีย์แห่งหนึ่งในราชบุรี เราพร้อมรับใช้สังคม ยินดีต้อนรับลูกหลานที่จะมาเรียนกับเรา

 

   

 

การเข้าถึงความเท่าเทียม : ทุกเพศ ทุกวัย ร่วมใจสร้างมูลค่าขยะ

การเข้าถึงความเท่าเทียม : ทุกเพศ ทุกวัย ร่วมใจสร้างมูลค่าขยะ

วิจัยและนวัตกรรม

การเข้าถึงความเท่าเทียม : ทุกเพศ ทุกวัย ร่วมใจสร้างมูลค่าขยะ

จาก “ขยะ” สู่ “ของใช้” ไอเดียเจ๋ง… โดย #ชาวบ้านชุมชนคลองโยง อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม

เมื่อพูดถึง ขยะ เป็นสิ่งที่จะทำให้หมดไปจากโลกนี้ก็คงเป็นเรื่องยากครับ จังหวัดไหน… ชุมชนไหน… ที่ไหน… ก็มี “ขยะ” แต่อยู่ที่เราจะมีวิธีบริหารจัดการอย่างไรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตนเอง ชุมชน และสังคม เมื่อวานปลาบู่น้อยได้รับโอกาสดีๆ ให้มาร่วมกิจกรรม “การจัดอบรมทำสิ่งประดิษฐ์จากขยะเหลือใช้เพื่อยกระดับรายได้ของชุมชน คลองโยง” ที่จัดขึ้นโดย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กิจกรรมนี้มีเป้าหมายเพื่อเป็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มุ่งเน้นความร่วมมือกับเครือข่ายภายนอก และ สร้างผู้รู้ให้เพิ่มขึ้นในชุมชน ในปีก่อนผู้เข้าร่วมโครงการจะเป็นผู้สูงอายุที่มาเรียนรู้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้วยการนำขยะมาประดิษฐ์เป็นผลิตภัณฑ์สินค้าต่างๆ  ประดิษฐ์เครื่องใช้จากถุงพลาสติกย่อยสลาย ประดิษฐ์เครื่องประดับจากกระดาษนิตยสารเก่า ประดิษฐ์ดอกไม้ของที่ระลึกจากถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม มาในปีนี้เราเปิดโอกาสให้ทุกคนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเพศหญิงหรือชาย อายุเท่าไหร่ก็ได้สามารถที่จะเข้ามาร่วมฝึกอบรม เพื่อเป็นการขยายฐานกูรูถ่ายทอดให้กับรุ่นต่อไป เพราะกิจกรรมดังกล่าวนี้นอกจากจะเป็นการบริหารจัดการขยะแล้วยังสามารถ แก้ไขปัญหาความยากจน ของชาวบ้านในท้องถิ่นได้อีกด้วย สามารถมาเลือกชมสินค้าได้ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองโยง 2 จังหวัดนครปฐม