ผู้เขียน: Thatpong Ruangprach

สวนสุนันทาลงพื้นที่ผลิตภัณฑ์ชุมชน ดันเศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและยั่งยืน

สวนสุนันทาลงพื้นที่ผลิตภัณฑ์ชุมชน ดันเศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและยั่งยืน

สวนสุนันทาลงพื้นที่ผลิตภัณฑ์ชุมชน ดันเศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและยั่งยืน

กองนโยบายและแผน ร่วมกับวิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนยั่งยืนสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ ซึ่งเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ประจำปีงบประมาณ 2567 มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ของชุมชนในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ให้ได้มีมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์ สร้างจุดแข็งให้ผลิตภัณฑ์ของชุมชนมีความสามารถในการแข่งขัน และส่งเสริมให้ชุมชนใช้โซเชียลมีเดียและแพลทฟอร์มออนไลน์ต่างๆ ในการจำหน่ายสินค้าชุมชน กองนโยบายและแผน ร่วมกับวิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ลงพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ร่วมกับชุมชนและผู้ประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในด้านต่าง ๆ เช่น พัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม่ให้มีความสวยงาม ทันสมัย ใช้งานสะดวก การพัฒนากระบวนการผลิตให้สามารถควบคุมคุณภาพได้ การบริหารจัดการต้นทุนการผลิต และที่สำคัญทำให้สินค้าและผลิตภัณฑ์ของชุมชนได้รับการรับรองมาตรฐาน เช่น มาตราฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.), มาตรฐาน อย. เป็นต้น โดยอาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยลงพื้นที่จัดการฝึกอบรมทักษะต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้าชุมชน การต่อยอดและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัตถุดิบในชุมชน และได้รับการสนับสนุนจากธนาคารออมสินภาค 4 ร่วมให้ความรู้ในด้านการจัดการบัญชีครัวเรือน เพื่อผลักดันให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการรายรับ-จ่าย ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในการดำเนินงานได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขึ้นมาใหม่หลายผลิตภัณฑ์ เช่น สเปรย์ระงับกลิ่นปาก โลชั่นสารสกัดเหงือกปลาหมอ ยาสีฟันชะคราม ครีมน้ำปรุงไทยตำรับชาววัง สบู่ชันโรง เป็นต้น กิจกรรมที่โครงการดำเนินการส่งเสริมให้ชุมชน และผู้ประกอบการขนาดเล็ก ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม มีความรู้ความเข้าใจด้านการผลิต การต่อยอดผลิตภัณฑ์ การสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้านการบริหารจัดการรายได้ครัวเรือน มีการวางแผนการดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานทั้งภาคชุมชนและภาครัฐอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

Suan Sunandha goes to the community to promote sustainable and stable grassroots economy.

The Policy and Planning Division, in collaboration with the College of Allied Health Sciences, Suan Sunandha Rajabhat University, organized the project to upgrade the standards of sustainable community products to online platforms, which is a project under the strategy of Rajabhat University for fiscal year 2024, focusing on upgrading the quality of community products in Samut Songkhram Province to meet product quality standards, creating strengths for community products to be competitive, and promoting the community to use social media and various online platforms to sell community products. The Policy and Planning Division, in collaboration with the College of Allied Health Sciences, Suan Sunandha Rajabhat University, went to Samut Songkhram Province to work with communities and entrepreneurs to develop products in various aspects, such as developing new packaging that is beautiful, modern, and easy to use, developing a production process that can control quality, managing production costs, and importantly, making community products and products certified with standards, such as the Community Product Standard (CPS), FDA standards, etc. The university’s lecturers and researchers went to the area to organize training in various skills related to community product production, expanding and creating new products from raw materials in the community, and received support from the Government Savings Bank Region 4 to share knowledge in household account management to push communities to be able to manage their own income and expenses effectively. In the operation, several new products were developed, such as breath freshener spray. Fish gum extract lotion, Chakram toothpaste, Thai royal recipe herbal cream, soap, etc.
The project activities promote the community and small entrepreneurs in Samut Songkhram Province to have knowledge and understanding of production, product development, value-added creation, household income management, and have a plan for sustainable joint operations between both community and government agencies, which is in line with the sustainable development goals.

ที่มา : https://www.facebook.com/photo/?fbid=2778732155613770&set=pcb.2778732648947054

Source : https://www.facebook.com/photo/?fbid=2778732155613770&set=pcb.2778732648947054

สวนสุนันทาเฮลธ์แคร์ จัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ทำอาหารเมนู “เบอร์เกอร์ไข่ต้ม”

สวนสุนันทาเฮลธ์แคร์ จัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ทำอาหารเมนู “เบอร์เกอร์ไข่ต้ม”

สวนสุนันทาเฮลธ์แคร์ จัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ทำอาหารเมนู “เบอร์เกอร์ไข่ต้ม”

สวนสุนันทาเฮลธ์แคร์ จัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ทำอาหารเมนู “เบอร์เกอร์ไข่ต้ม” วันที่ 3 มิถุนายน 2567 นายวิชญ์วิสิฐ เมืองโคตร รักษาการหัวหน้าฝ่ายฯ และผู้ดูและ จัดกิจกรรมยามบ่ายให้ผู้สูงอายุ ทำเมนู เบอร์เกอร์ไข่ต้ม เป็นอาหารว่าง การจัดกิจกรรมนี้ช่วยส่งเสริมทักษะด้านร่างกาย ส่งเสริมทักษะด้านอารมณ์ ส่งเสริมทักษะด้านภาษา พัฒนาทักษะการพูดและการฟัง ผ่านการพูดคุยสนทนาตอบโต้กับผู้ดูแล และเพื่อน ๆ หรือการแสดงความคิดเห็นในระหว่างการทำกิจกรรม ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการจัดวางผัก การราดซอสและการจัดเรียง ช่วยกระตุ้นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ช่วยกระตุ้นการใช้ประสาทสัมผัสของผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดี เช่น “ตา” มองเห็นวัตถุดิบและส่วนผสมต่าง ๆ “มือ” ได้สัมผัสผิวของวัตถุดิบ “หู” ฟังคำสั่งและคำแนะนำจากผู้ดูแล ว่าขั้นตอนถัดไปคืออะไร ต้องทำอะไรต่อ “จมูก” ได้กลิ่นของอาหา “ปาก” ชิมรสชาติของวัตถุดิบ และช่วยสร้างสุขนิสัย สุขอนามัย และโภชนาการ กิจกรรมประกอบอาหารที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ในเป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการและส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน และ เป้าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย

Suan Sunandha Healthcare Organized an activity for the elderly to cook the menu “boiled egg burger”

Suan Sunandha Healthcare Organized an activity for the elderly to cook the menu “boiled egg burger” On June 3, 2024, Mr. Witwisit Muangkot, Acting Head of the Department and the person who supervised and organized an afternoon activity for the elderly, made a menu of boiled egg burgers. as a snack Organizing this activity helps promote physical skills. Promote soft skills Promote language skills Develop speaking and listening skills Through conversation and interaction with caregivers and friends or expressing opinions during activities. Promotes imagination and creativity Use one’s creativity Whether it is the placement of vegetables Sauce pouring and arrangement Helps stimulate the use of all 5 senses. Helps stimulate the use of the senses of the elderly very well, such as “eyes” to see raw materials and various ingredients, “hands” to touch the surface of raw materials, “ears” to listen to commands and advice from caretaker What is the next step? What to do next? The “nose” can smell the food. The “mouth” can taste the taste of the ingredients. and helps build good habits, hygiene, and nutrition Cooking activities mentioned above This is in line with the Sustainable Development Goals (SDGs) in Goal 2, ending hunger. Achieve food security and improve nutrition and promote sustainable agriculture, and Goal 3: Ensure people live healthy lives and promote well-being for all people at all ages. #SDG_SSRU #SSRU #IRDSSRU #Suan Sunandha Rajabhat University #Institute for Promotion and Development of Health for Aging Society

ที่มา : http://eec.skm.ssru.ac.th/th/news/view/03062567-003

Source : http://eec.skm.ssru.ac.th/en/news/view/03062567-003

มรภ.สวนสุนันทา วิทยาเขตสมุทรสงคราม มุ่งแก้ปัญหา ตัดตอนวงจร ‘ปลาหมอคางดำ’ ศัตรูทางธรรมชาติ ทำลายระบบนิเวศ ภายในวิทยาเขตสมุทรสงคราม

มรภ.สวนสุนันทา วิทยาเขตสมุทรสงคราม มุ่งแก้ปัญหา ตัดตอนวงจร ‘ปลาหมอคางดำ’ ศัตรูทางธรรมชาติ ทำลายระบบนิเวศ ภายในวิทยาเขตสมุทรสงคราม

มรภ.สวนสุนันทา วิทยาเขตสมุทรสงคราม มุ่งแก้ปัญหา ตัดตอนวงจร ‘ปลาหมอคางดำ’ ศัตรูทางธรรมชาติ ทำลายระบบนิเวศ ภายในวิทยาเขตสมุทรสงคราม

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตสมุทรสงคราม นำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงพิมพร ทองเมือง รองอธิการบดีวิทยาเขตสมุทรสงคราม พร้อมด้วยนางสาวสุภาพร ประจงใจ รักษาการผู้อำนวยการสำนักงานวิทยาเขตสมุทรสงคราม,นายเอกชน น้อยเงิน ผู้อำนวยการกองกลาง สำนักงานวิทยาเขตสมุทรสงคราม และบุคลากร สำนักงานวิทยาเขตสมุทรสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ให้ความสำคัญต่อระบบนิเวศทางน้ำ ภายในวิทยาเขตสมุทรสงคราม ซึ่งถือว่ามีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์ โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง ปลาหมอคางดํา หรือ ปลาหมอสีคางดํา เอเลี่ยนในแหล่งน้ำไทย เพชฌฆาตสัตว์ต่างถิ่น ผู้ทำลายระบบนิเวศทางน้ำ จากกรณีที่ประเทศไทยพบการระบาดของ ปลาหมอคางดํา หรือ ปลาหมอสีคางดํา ในหลายพื้นที่ จนสร้างความเดือดร้อนให้แก่เกษตรกร และสร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศทางน้ำ ซึ่งปลาหมอคางดำ ถือเป็นสัตว์ต่างถิ่น เอเลียนสปีชีส์ ที่ต้องเฝ้าระวัง ปลาชนิดนี้มีลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกับปลาหมอเทศ ปลาชนิดนี้ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา พบแพร่กระจายตลอดแนวชายฝั่งจนถึงแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ปัจจุบันมีการนําเข้าพันธุ์ปลาหมอคางดําในหลายประเทศ ทั้งอเมริกา ยุโรป เอเชีย โดยเฉพาะในประเทศไทย มีรายงานการนําเข้ามาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2553 ปลาหมอคางดํา ส่วนใหญ่พบอาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อย ป่าชายเลน สามารถทนความเค็มได้สูง และทนต่อการเปลี่ยนแปลงความเค็มในช่วงกว้าง โดยปลาชนิดนี้ จะเข้าไปรุกรานทำลายสัตว์น้ำในระบบนิเวศธรรมชาติ เกิดความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้ปลาบางชนิดเสี่ยงสูญพันธุ์ และทำให้เสียสมดุลระบบนิเวศใต้น้ำด้วย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตสมุทรสงคราม ไม่ได้นิ่งนอนใจกับสถานการณ์ปัจจุบัน ที่กำลังเป็นประเด็นภาวะเร่งด่วน ที่ต้องเร่งแก้ไข โดยได้รับความร่วมมือจากบุคลากร สำนักงานวิทยาเขตสมุทรสงคราม ช่วยกันหยุดวงจรชีวิตของปลาหมอคางดำ ไม่ให้ทำลายระบบนิเวศ ภายในวิทยาเขตสมุทรสงคราม ไปมากกว่านี้

Suan Sunandha Rajabhat University Samut Songkhram Campus aims to solve the problem, breaking the cycle of ‘black chin fish’, a natural enemy. destroy the ecosystem Inside Samut Songkhram Campus

Suan Sunandha Rajabhat University Samut Songkhram Campus Led by Assistant Professor Dr. Pharmacist Pimporn Thongmuang, Vice President of Samut Songkhram Campus. along with Ms. Supaporn Prajongjai, Acting Director of the Samut Songkhram Campus Office, Mr. Prachak Noi Ngoen, Central Division Director Samut Songkhram Campus Office and Personnel Samut Songkhram Campus Office Suan Sunandha Rajabhat University Give importance to the aquatic ecosystem Inside Samut Songkhram Campus which is considered important to the survival of plants and animals Especially the issue of black chin cichlids or black chin cichlids. Aliens in Thai water sources Executioner of exotic animals destroyer of aquatic ecosystems From the case in Thailand where an outbreak of black chin cichlids or black chin cichlids was found. in many areas until causing distress to farmers and create an impact on the aquatic ecosystem which the black chin fish It is considered an exotic animal. Alien species that must be watched out This fish has an external appearance similar to the cichlid fish. This fish is native to the African continent. Found spread along the coast to northwestern Africa. Currently, black fish species are being imported into many countries, including America, Europe, Asia, especially in Thailand. There have been reports of imports since 2010. Black-chinned cichlid fish are mostly found living in the mouths of rivers that are brackish water and mangrove forests. They can withstand high salinity. and withstands changes in salinity over a wide range. by this type of fish will invade and destroy aquatic animals in the natural ecosystem There has been a loss of biodiversity. causing some fish species to be at risk of extinction and disrupt the balance of the underwater ecosystem. Suan Sunandha Rajabhat University Samut Songkhram Campus Not complacent about the current situation which is currently an urgent issue that must be urgently fixed with cooperation from personnel Samut Songkhram Campus Office Help stop the life cycle of the black chin fish. Don’t destroy the ecosystem. Within the Samut Songkhram campus, go beyond this.

ที่มา : https://chm.ssru.ac.th/th/news/view/20230331

Source : https://chm.ssru.ac.th/th/news/view/20230331