- 02-160-1341
- the_sdg@ssru.ac.th
โครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2567 ณ ลานตากฟ้า อ.นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
โครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2567 ณ ลานตากฟ้า อ.นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม “ตะไคร้” ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงจากผลผลิตประจำท้องถิ่น ของลานตากฟ้า อ.นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ “หินไล่ยุงกลิ่นตะไคร้หอม” นำทีมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์ รองคณบดีฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพ และ ดร.ปิยมาส กล้าแข็ง หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการขนส่ง พร้อมคณาจารย์ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการขนส่ง ของวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ให้ความรู้ในการร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีชื่อเสียงจากผลผลิตประจำท้องถิ่น “ตะไคร้” สู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์การใช้นวัตกรรมการผลิตภูมิปัญญาท้องถิ่น ต่อยอดการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ออร์แกนิก 100% “หินไล่ยุงกลิ่นตะไคร้หอม” และจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อการสร้างรายได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเพื่อขจัดความยากจนและเพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกรในชุมชน (SDGs1) โดยการเสริมสร้างองค์ความรู้และสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับกับการจัดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นจากนวัตกรรมการผลิตภูมิปัญญาท้องถิ่น (SDGs4) เพื่อเพิ่มความสามารถในชุมชนการฟื้นตัวในชุมชน (SDGs11) และสามารถสร้างเครือข่ายในการเรียนรู้การพัฒนาจากรุ่นสู่รุ่น (SDGs17) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
Academic service project Fiscal year 2024 at Lan Tak Fa, Nakhon Chai Si District, Nakhon Pathom Province
“Lemongrass” a famous product from local produce of Lan Tak Fa, Nakhon Chai Si District, Nakhon Pathom Province. Developed into products “Mosquito repellent stone with citronella scent”
The team is led by Assistant Professor Dr. Sudarat Pimonrattanakarn. Deputy Dean for Planning and Quality Assurance and Dr. Piyamas Klakhaeng, Head of Transportation Management Department with faculty Transportation Management student of the College of Logistics and Supply Chain Provide knowledge in jointly developing products to be famous from the local produce “Lemongrass” to product development using innovative production of local wisdom. Continuing the development into a 100% organic product “Citronella Mosquito Repellent Stone” and selling the product to create income and a better quality of life in order to eliminate poverty and increase the capacity of farmers in the community ( SDGs1) by strengthening knowledge and creating awareness about local product development management from local wisdom production innovations (SDGs4) to increase community capacity for community recovery (SDGs11) and being able to build networks In learning about development from generation to generation (SDGs17) for sustainable development (Sustainable Development Goals : SDGs)
ที่มา : https://cls.ssru.ac.th/th/news/view/activities1637
Source : https://cls.ssru.ac.th/en/news/view/activities1637
Suan sunandha rajabhat university