โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยกลยุทธ์การเพิ่มรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกตะไคร้ ชุมชนบ้านวัดมะเกลือม ตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

 

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากด้วยกลยุทธ์การเพิ่มรายได้ของเกษตรกรผู้ปลูกตะไคร้ ชุมชนบ้านวัดมะเกลือม ตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์ราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 วันที่ 8 มีนาคม 2567 นำทีมโดย ดร.ศรีศรินทร์ นรเศรษฐโสภณ หัวหน้าโครงการ พร้อมคณาจารย์ และนักศึกษา ของวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ให้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ทำจากตะไคร้ ซึ่งเป็นพืชที่ปลูกในพื้นที่นำมาพัฒนาเป็น “สเปรย์ตะไคร้หอมกันยุง” และจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพื่อการสร้างรายได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเพื่อขจัดความยากจนและเพิ่มขีดความสามารถของเกษตรกรในชุมชน (SDGs1) โดยการเสริมสร้างองค์ความรู้และสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับกับการจัดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นจากนวัตกรรมการผลิตภูมิปัญญาท้องถิ่น (SDGs4) เพื่อเพิ่มความสามารถในชุมชนการฟื้นตัวในชุมชน (SDGs11) และสามารถสร้างเครือข่ายในการเรียนรู้การพัฒนาจากรุ่นสู่รุ่น (SDGs17) เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

A project to improve the quality of life and raise the level of the grassroots economy through strategies to increase the income of lemongrass farmers. Ban Wat Makluam Community, Khlong Yong Subdistrict, Phutthamonthon District Nakhon Pathom Province Unde

A project to improve the quality of life and raise the level of the grassroots economy through strategies to increase the income of lemongrass farmers. Ban Wat Makluam Community, Khlong Yong Subdistrict, Phutthamonthon District Nakhon Pathom Province Under the Rajabhat Strategy Project for Local Development Suan Sunandha Rajabhat University, fiscal year 2024, March 8, 2024, led by Dr. Srisarin Narasethasopon, project leader. along with faculty and students of the College of Logistics and Supply Chain Provide knowledge in developing products made from lemongrass which are plants grown in the area and developed into “Citronella Mosquito Repellent Spray” and sell products to create income and a better quality of life in order to eliminate poverty and increase the capacity of farmers in the community (SDGs1) by strengthening knowledge and creating Be aware of local product development management from local wisdom production innovations (SDGs4) to increase community capacity for community recovery (SDGs11) and be able to create networks to learn about development from generation to generation (SDGs17 ) for sustainable development (Sustainable Development Goals : SDGs) 

ที่มา : https://cls.ssru.ac.th/th/news/view/activities1643

Source : https://cls.ssru.ac.th/en/news/view/activities1643

Related posts: